วันอังคารที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2561

อุปกรณ์สมัยใหม่


Oculus rift



Oculus Rift คือ แว่นตาสามมิติหรือจะเรียกอีกชื่อว่าแว่นตาโลกเสมือน Virtual Reality (VR) ที่มีการเปิดตัวอย่างเป็นทางการแล้ว ก้าวสู่ความแตกต่างจากประสบการณ์ที่ผ่านมาและล้ำสมัย ด้วยนวัตกรรมใหม่ที่ล้ำยุค ด้วยการพาคุณเข้ามาในเกมที่คุณชื่นชอบ การชมภาพยนตร์ที่เสมือนจริง เพียงคุณได้สัมผัสกับแว่นตาโลกเสมือน Virtual Reality (VR) คุณจะรู้สึกเหมือนคุณอยุ่ที่นั่นจริงๆ ความน่าสนใจคือ เรื่องการออกแบบเฉพาะตัวสำหรับ Virtual Reality (VR) ด้วยอัตราการรีเฟรชที่สูงและต่ำ การแสดงผลของจอทำงานร่วมกับระบบเลนส์ที่สามารถกำหนดเองตามที่ต้องการ คุณสามารถสร้างอารมณ์ร่วมและดื่มด่ำอารมณ์ได้เสมือนจริง Oculus Touch สำหรับเจ้าอุปกรณ์ตัวนี้ มีความแปลกตา ลักษณะเหมือนคันโยกบังคับแบบในเครื่องบิน 2 ตัว ปุ่มกด 2 ปุ่ม ปุ่มอนาล็อก 2 ตำแหน่ง ใช้สำหรับการควบคุมการเคลื่อนไหว ความมหัศจรรย์ของเทคโนโลยีการแสดงผลขั้นสูง ร่วมกับมีความแม่นยำพร้อมระบบการติดตาม จะช่วยให้คุณมีความรู้สึกร่วม ราวกับว่า เกิดเหตุการณ์จริงขึ้นกับคุณ ความมหัศจรรย์ของ Oculus Touch ที่จะเกิดขึ้นเป็นการเปลี่ยนแปลงที่สร้างความแตกต่างที่คุณไม่เคยได้สัมผัสมาก่อนอย่างแน่นอน

ด้วยการออกแบบที่ทันสมัยและใส่ใจในรายละเอียด ด้วยการออกแบบที่สวยงาม ให้เหมาะกับการใช้งานที่สะดวกสบาย ออกแบบให้โดดเด่น ตัวแว่นมีการปรับปรุงให้สวมใส่ง่ายขึ้น และมีน้ำหนักเบาขึ้น สามารถปรับขนาดให้เหมาะกับบุคคล ตัวหูฟังสามารถถอดแยกออกได้ และตัวแว่นออกแบบให้คนสวมแว่นสามารถสวมทับไปได้เลย สามารถตอบโจทย์ทุกกลุ่มเป้าหมายได้จริง สำหรับ Oculus Touch
Oculus Research สำหรับอุปกรณ์ตัวนี้ไม่ใช่ไมโครโฟนหรือลำโพง แต่เป็นตัวจับสัญญาณเคลื่อนไหวทั้งหมดผ่านกล้องเซ็นเซอร์ตัวจับการเคลื่อนไหวทั้งหมด Oculus Research



อ้างอิง : http://www.siamvr.com/oculus-rift/oculus-rift-virtual-reality/

การติดตั้งจอยสติ๊ก


อ้างอิง : https://www.youtube.com/watch?v=I51G8XpDMnI
           
           

วันอังคารที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2560

แบบทดสอบ ม.5/5

1.ทรัพย์สินทางปัญญา มีความหมายว่าอย่างไร

ตอบ

ทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึง ผลงานอันเกิดจากการประดิษฐ์ คิดค้น หรือสร้างสรรค์ของมนุษย์ ซึ่งเน้นที่ผลผลิตของสติปัญญาและความชำนาญ โดยไม่คำนึงถึงชนิดของการสร้างสรรค์หรือวิธีในการแสดงออก ทรัพย์สินทางปัญญาอาจแสดงออกในรูปแบบของสิ่งที่จับต้องได้ เช่น สินค้าต่างๆ หรือในรูปของสิ่งที่จับต้องไม่ได้ เช่น บริการ แนวคิดในการดำเนินธุรกิจ กรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม เป็นต้น


2. สิทธิบัตร , ลิขสิทธิ์ หมายถึงอะไร แตกต่างกันอย่างไร


ตอบ

-อันดับแรกก็ต้องทำความเข้าใจก่อนว่าลิขสิทธิ์เป็นกฎหมายที่มีไว้คุ้มครองงานสร้างสรรค์ที่มีลักษณะเป็นงานศิลปกรรม วรรณกรรม งานถ่ายภาพ งานแพร่ภาพกระจายเสียง หรืองานทางด้านศิลปะอื่นๆ ซึ่งมีระบุไว้ในพรบ.ลิขสิทธิ์ ดังต่อไปนี้ ครับ

งานวรรณกรรม (รวมไปถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์)
งานการแสดง
งานวิจิตรศิลป์ ศิลปกรรม ได้แก่
ภาพวาด
ประติมากรรม
งานพิมพ์
งานตกแต่งสถาปัตย์
ภาพถ่าย
ภาพวาดเขียน แผนที่ ภาพร่าง
งานประยุกตศิลป์ (งานประยุกตศิลป์ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ 25 ปีหลังจากวันจัดสร้าง)
งานดนตรี
งานสิ่งบันทึกเสียง (เทป ซีดี)
งานโสตทัศนวัสดุ (วีซีดี ดีวีดี ที่มีภาพหรือมีทั้งภาพและเสียง)
งานภาพยนตร์
งานแพร่เสียงแพร่ภาพ
งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ

-สำหรับสิทธิบัตรนั้นมีไว้เพื่อคุ้มครองงานประดิษฐ์ งานออกแบบผลิตภัณฑ์ หรืองานวิจัย ซึ่งจะต้องมีประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และสามารถผลิตได้ในระบบอุตสาหกรรมด้วย


3. เครื่องหมายการค้า หมายถึงอะไร พร้อมยกตัวอย่างรูปภาพเครื่องหมายการค้า มา 5 เครื่องหมาย

ตอบ 

ตราสินค้าหรือส่วนหนึ่งของตราสินค้า เพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของเครื่องหมายการค้านั้น เจ้าของมีสิทธิตามกฎหมายเพียงผู้เดียว เราไม่สามารถใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่นและบุคคลอื่นก็ไม่สามารถใช้เครื่องหมายการค้าของเราได้ เว้นแต่จะมีสัญญาและข้อตกลงต่อกัน (เช่นการควบกิจการ) สัญลักษณ์อาจจะประกอบไปด้วย ชื่อ ข้อความ วลี สัญลักษณ์ ภาพ งานออกแบบ หรือหลายส่วนร่วมกัน โดยมีความหมายทางด้านทรัพย์สินทางปัญญาเป็นเครื่องหมายแสดงถึง ชื่อสินค้าเฉพาะอย่าง หรือทุกประเภทในเครื่องหมายการค้าจะเป็นการแสดงภาพเครื่องหมาย ชื่อ ตราสัญลักษณ์เพื่อแสดงถึง อ้างถึง มีความหมายถึงสิ่งใด ๆ ก็ตามที่มีความเกี่ยวข้องกัน











4 พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560 มีว่าอย่างไรบ้าง สรุปมาเป็นข้อ

ตอบ

1. การฝากร้านใน Facebook, IG ถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท

2. ส่ง SMS โฆษณา โดยไม่รับความยินยอม ให้ผู้รับสามารถปฏิเสธข้อมูลนั้นได้ ไม่เช่นนั้นถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท

3. ส่ง Email ขายของ ถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท

4. กด Like ได้ไม่ผิด พ.ร.บ.คอมพ์ฯ ยกเว้นการกดไลค์ เป็นเรื่องเกี่ยวกับสถาบัน เสี่ยงเข้าข่ายความผิดมาตรา 112 หรือมีความผิดร่วม

5. กด Share ถือเป็นการเผยแพร่ หากข้อมูลที่แชร์มีผลกระทบต่อผู้อื่น อาจเข้าข่ายความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพ์ฯ โดยเฉพาะที่กระทบต่อบุคคลที่ 3

6. พบข้อมูลผิดกฎหมายอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเรา แต่ไม่ใช่สิ่งที่เจ้าของคอมพิวเตอร์กระทำเอง สามารถแจ้งไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบได้ หากแจ้งแล้วลบข้อมูลออกเจ้าของก็จะไม่มีความผิดตามกฎหมาย เช่น ความเห็นในเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมไปถึงเฟซบุ๊ก ที่ให้แสดงความคิดเห็น หากพบว่าการแสดงความเห็นผิดกฎหมาย เมื่อแจ้งไปที่หน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อลบได้ทันที เจ้าของระบบเว็บไซต์จะไม่มีความผิด

7.สำหรับ แอดมินเพจ ที่เปิดให้มีการแสดงความเห็น เมื่อพบข้อความที่ผิด พ.ร.บ.คอมพ์ฯ เมื่อลบออกจากพื้นที่ที่ตนดูแลแล้ว จะถือเป็นผู้พ้นผิด

8. ไม่โพสต์สิ่งลามกอนาจาร ที่ทำให้เกิดการเผยแพร่สู่ประชาชนได้

9. การโพสเกี่ยวกับเด็ก เยาวชน ต้องปิดบังใบหน้า ยกเว้นเมื่อเป็นการเชิดชู ชื่นชม อย่างให้เกียรติ

10. การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เสียชีวิต ต้องไม่ทำให้เกิดความเสื่อมเสียเชื่อเสียง หรือถูกดูหมิ่น เกลียดชัง ญาติสามารถฟ้องร้องได้ตามกฎหมาย

11. การโพสต์ด่าว่าผู้อื่น มีกฏหมายอาญาอยู่แล้ว ไม่มีข้อมูลจริง หรือถูกตัดต่อ ผู้ถูกกล่าวหา เอาผิดผู้โพสต์ได้ และมีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท

12. ไม่ทำการละเมิดลิขสิทธิ์ผู้ใด ไม่ว่าข้อความ เพลง รูปภาพ หรือวิดีโอ

13. ส่งรูปภาพแชร์ของผู้อื่น เช่น สวัสดี อวยพร ไม่ผิด ถ้าไม่เอาภาพไปใช้ในเชิงพาณิชย์ หารายได้


5. ให้นักเรียนค้นหาข่าวที่เกี่ยวข้องกับการกระทำผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ โดยนำ link มาตอบด้านล่าง

ตอบ 
https://www.dailynews.co.th/crime/595641

วันเสาร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

<HTML>

สำหรับ <HTML> นั้นเป็นคำสั่งหรือแท็กแรกในภาษา HTML ซึ่งเป็นคำสั่งที่แสดงให้รู้ว่า ไฟล์นี้เป็นไฟล์ HTML ซึ่งจะใช้ <HTML> ที่บรรทัดบนสุดและ </HTML> เป็นการปิดคำสั่ง HTML ซึ่งจะไว้ที่บรรทัดสุดท้าย เพื่อแสดงว่าจบไฟล์



<HEAD>
สำหรับแท็ก <HEAD> เป็นส่วนหัวของไฟล์ที่ใช้ใส่แท็กต่างๆ เช่น <TITLE>, <META>, <!DOCTYPE> เป็นต้น ส่วนนี้จะเป็นส่วนที่ถูกเรียกมาก่อนส่วนอื่นๆ และจะไม่แสดงผลออกทาง Browser


<BODY>

สำหรับแท็กนี้เป็นส่วนที่เริ่มต้นส่วนที่เป็นคำสั่งต่างๆ ที่จะแสดงยัง Browser ซึ่งข้อมูลทุกอย่างของเราที่จะนำมาแสดงต้องใส่ไว้ภายใต้คำสั่งนี้เท่านั้น แท็กนี้มีคำสั่งย่อยที่สำคัญ ดังนี้

1. BACKGROUND คือการกำหนดให้ Browser แสดงพื้นหลังด้วยรูปภาพ เช่น <BODY BACKGROUND= “bg.gif”> เป็นต้น

2. BGCOLOR คือการกำหนดให้ Browser แสดงพื้นหลังสีที่กำหนด เช่น <BODY BGCOLOR= “green” > เป็นต้น

3. TEXT คือการกำหนดให้ Browser แสดงอักษรเป็นสีที่กำหนด เช่น <BODY TEXT= “rad”> เป็นต้น



<META>
สำหรับแท็กนี้เป็นแท็กที่มีประโยชน์มากเลยทีเดียวในสมัยนี้ ไม่ว่าจะไว้สำหรับกำหนดภาษาที่จะแสดงผล ใช้เป็นเครื่องมือในการค้นหาเว็บ ของ Search Engine ต่างๆ ใส่ข้อความ คำอธิบายต่างๆ

1. NAME= “GENERATOR” ใช้บอกชื่อของผู้เขียนหรือชื่อโปรแกรมที่ใช้เขียน เช่น <META NAME=“GENERATOR” CONTENT= “ชื่อผู้เขียนหรือชื่อโปรแกรม”>

2. NAME= “DESCRIPTION” ใช้ใส่คำอธิบายของโฮมเพจเรา ซึ่งเป็นแท็กหนึ่งที่ Search Engine ใช้ในการค้นหาเว็บเรา เช่น

<META NAME= “DESCRIPTION” CONTENT= “ใส่คำอธิบาย”>

3. NAME= “KEYWORDS” ใช้ใส่คำสำคัญ หรือคำต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเว็บเรา ซึ่งเป็นแท็กหนึ่งที่ Search Engine ใช้ในการค้นหาเว็บเรา เช่น

<META NAME= “KEYWORDS” CONTENT= “ใส่คำสำคัญ”>



<!- ->

สำหรับแท็กนี้เรียกว่าแท็ก Comment (หมายเหตุ) ใช้ในการทำหมายเหตุในเอกสาร HTML ซึ่งผู้ที่เปิดดูจาก Browser จะไม่สามารถมองเห็นได้ แต่จะสามารถอ่านได้จาก Taxt Edittor เท่านั้น รูปแบบการใช้ คือ <!- ข้อความ ->



<FONT>

สำหรับแท็กนี้ ก็จะเกี่ยวกับการแสดงผลของตัวอักษร เช่น ขนาด, สี, Font ของตัวอักษร เป็นต้น

1. SIZE ใช้กำหนดขนาดของ Font ให้มีขนาดต่างๆกัน โดยจะมีขนาดตั้งแต่ 1-7 ซึ่งขนาด

ที่ 1 จะมีขนาดเล็กที่สุดหรือเท่ากับ 8 pt และ ขนาด 7 จะมีขนาดใหญ่ที่สุดหรือเท่ากับ 36 pt

2. COLOR ใช้กำหนดสีของ Font ให้มีสีสันต่างๆ กัน โดยที่คุณสามารถใส่เป็นรหัสสีหรือชื่อก็ได้ เช่น <FONT COLOR= “#000000” > หรือ <FONT COLOR= “Black” > เป็นต้น

3. FACE ใช้กำหนด Font ที่จะให้ Browser แสดงผลด้วย Font ที่กำหนด เช่น <FONT FACE= “Angsana UPC” > เป็นต้น



<B>

สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดการแสดงผลของตัวอักษรแบบตัวหนา รูปแบบการใช้งานคือ <B> ข้อความ </B>

< I >

สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดการแสดงผลของตัวอักษรแบบตัวเอียง รูปแบบการใช้งานคือ < I > ข้อความ </I>

< U >

สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดการแสดงผลของตัวอักษรแบบตัวขีดเส้นใต้ รูปแบบการใช้งานคือ < U > ข้อความ </U>



< BR >

สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับการขึ้นบรรทัดใหม่ มีรูปแบบการใช้งาน คือ <BR>



<CENTER>

สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดให้ข้อความภายในแท็กนี้ มีการจัดรูปแบบ แบบกึ่งกลาง มีรูปแบบการใช้งาน คือ <CENTER> ข้อความ </CENTER>



< HR>

สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับการขีดเส้น ___________ โดยมีรูปแบบการใช้งานคือ <HR>



< P >

สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับการขึ้นย่อหน้าใหม่ มีรูปแบบการใช้ คือ <P> ข้อความ </P>

1. ALIGN ใช้กำหนดลักษณะการจัดย่อหน้า บนหน้าจอ โดยจะมีค่าที่ใช้ คือ LEFT (วางแบบชิดซ้าย), RIGHT (วางแบบชิดขวา), CENTER (วางแบบกึ่งกลาง) ใช้งานคือ

<P ALIGN= “LEFT”> ข้อความ </P>

<P ALIGN= “RIGHT”> ข้อความ </P>

<P ALIGN= “CENTER”> ข้อความ </P>



<MARQUEE>

สำหรับแท็กนี้เป็นแท็กที่ใช้สำหรับ กำหนดการแสดงผลของตัวอักษรวิ่ง โดยมีรูปแบบการใช้งานคือ <MARQUEE> ข้อความ </MARQUEE> มีคำสั่งย่อย ดังนี้

1. WIDTH แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดความกว้างของพื้นที่ตัวอักษรวิ่ง โดยจะมีการกำหนดค่าเป็นหน่วยของ Pixel หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) มีรูปแบบการใช้งาน คือ

< MARQUEE WIDTH= “200” > หรือ < MARQUEE WIDTH= “20%” > เป็นต้น

2. HEIGHT แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดความสูงพื้นที่ตัวอักษรวิ่ง โดยจะมีการกำหนดค่าเป็นหน่วยของ Pixel หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) มีรูปแบบการใช้งาน คือ

< MARQUEE HEIGHT = “200” > หรือ < MARQUEE HEIGHT = “20%” > เป็นต้น

3. BGCOLOR แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดสีพื้นหลังที่เป็นสีที่กำหนด เช่น

< MARQUEE BGCOLOR = “green”> เป็นต้น

4. HSPACE สำหรับแท็กนี้ ใช้สำหรับกำหนดระยะห่างทางด้านซ้ายและขวาของตัวอักษรวิ่ง มีรูปแบบการใช้งาน คือ < MARQUEE HSPACE= “10”>ข้อความ </MARQUEE>

5. VSPACE สำหรับแท็กนี้ ใช้สำหรับกำหนดระยะห่างทางด้านบนและล่างของตัวอักษรวิ่ง มีรูปแบบการใช้งาน คือ < MARQUEE VSPACE= “10”>ข้อความ </MARQUEE>

6. LOOP ใช้กำหนดจำนวนรอบของตัวอักษรวิ่ง โดยจะมีค่าเป็นเลข ตั้งแต่ 1 ไปจนถึง Infinite หรือว่า Loop แบบไม่รู้จบ

7.BEHAVIOR ใช้กำหนดลักษณะการวิ่งของตัวอักษร โดยสามารถกำหนดได้ 3 แบบ คือ

ALTERNATIVE ตัวอักษรวิ่งจากขวามาซ้ายและซ้ายไปขวา กลับไปกลับมา

SCROLL ตัวอักษรวิ่งจากขวามาซ้าย

SLIDE ตัวอักษรวิ่งจากขวามาซ้ายแล้วหยุดนิ่ง

ตัวอย่าง < MARQUEE BEHAVIOR= “ALTERNATIVE” > ข้อความ </MARQUEE>

< MARQUEE BEHAVIOR= “SCROLL” > ข้อความ </MARQUEE>

< MARQUEE BEHAVIOR= “SLIDE” > ข้อความ </MARQUEE>



<TABLE>
สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้มากที่สุด และสำคัญที่สุดในการสร้างโฮมเพจของเรา สำหรับการสร้างตาราง โดยจะต้องใช้ควบคู่กับแท็ก <TR> และ <TD> เสมอในการสร้างตาราง โดยมีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้

<TABLE> ------------------------------------------------------------> คำสั่งเปิดตาราง

<TR> ------------------------------------------------------------> หมายถึง แถว

<TD> ข้อความ </TD> <TD> ข้อความ </TD> -----------------------> หมายถึง คอลัมภ์

</TR> ------------------------------------------------------------> จบแถว

</TABLE> ------------------------------------------------------------> คำสั่งจบตาราง



จะเห็นว่าคำสั่ง <TR> นั้นคือ คำสั่งแถว และ คำสั่ง <TD> คือคำสั่ง คอลัมภ์ และคำสั่งคอลัมภ์นั้นจะเห็นว่าอยู่ภายใต้คำสั่ง <TR> ซึ่งก็คือ เมื่อใดที่ตารางมีแถว ก็ต้องมีคอลัมภ์อยู่ในแถว และในคอลัมภ์นั่นเองที่เป็นที่ใส่ข้อมูลต่างๆ จากด้านบนจะเห็นว่า คำสั่งนี้จะมี 1 ตาราง 1 แถว 2 คอลัมภ์ ส่วนการกำหนดรายละเอียดนั้น มีดังต่อไปนี้

1. WIDTH แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดความกว้างของตาราง โดยจะมีการกำหนดค่าเป็นหน่วยของ Pixel หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) มีรูปแบบการใช้งาน คือ <TABLE WIDTH= “200” > หรือ<TABLE WIDTH= “20%” > เป็นต้น

2. HEIGHT แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดความสูงของตาราง โดยจะมีการกำหนดค่าเป็นหน่วยของ Pixel หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) มีรูปแบบการใช้งาน คือ <TABLE HEIGHT = “200” > หรือ<TABLE HEIGHT = “20%” > เป็นต้น

3. ALIGN แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดลักษณะการวางตารางบนหน้าจอ โดยจะมีค่าที่ใช้คือ LEFT, RIGHT, CENTER เช่น <TABLE ALIGN = “CENTER” > เป็นต้น

4. BORDER แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดขนาดความหนาของกรอบตาราง โดยจะมีการกำหนดค่าเป็นหน่วยของ Pixel หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) มีรูปแบบการใช้งาน คือ <TABLE BORDER = “0” >(เมื่อไม่ต้องการมีกรอบ), หรือ <TABLE BORDER = “2” > เป็นต้น

5. CELLSPACING แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดระยะห่างระหว่างคอลัมภ์ของตาราง ด้านซ้าย-ขวา โดยจะมีการกำหนดค่าเป็นหน่วยของ Pixel หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) มีรูปแบบการใช้งาน คือ<TABLE CELLSPACING = “0” > (เมื่อไม่ต้องการมีระยะห่าง), หรือ <TABLE CELLSPACING = “2” > เป็นต้น

6. CELLPADDING แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดระยะห่างระหว่างคอลัมภ์ของตาราง ด้านบน-ล่าง โดยจะมีการกำหนดค่าเป็นหน่วยของ Pixel หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) มีรูปแบบการใช้งาน คือ<TABLE CELLPADDING = “0” > (เมื่อไม่ต้องการมีระยะห่าง), หรือ <TABLE CELLPADDING = “2” > เป็นต้น

7. BACKGROUND แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดสีพื้นหลังที่เป็นรูปภาพกับตาราง เช่น < TABLE BACKGROUND= “bg.gif”> เป็นต้น

8. BGCOLOR แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดสีพื้นหลังที่เป็นสีที่กำหนด เช่น < TABLE BGCOLOR = “green”> เป็นต้น

9. BORDERCOLOR แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดสีของกรอบตารางให้เป็นสีที่กำหนด เช่น < TABLE BORDERCOLOR = “green”> เป็นต้น


ตัวอย่างคำสั่ง

คำสั่ง <br> ใช้สำหรับขึ้นบรรทัดใหม่คำสั่ง <b>ข้อความ</b> : กำหนดให้ข้อความเป็นตัวหนา
คำสั่ง <center>ข้อความ</center> : กำหนดให้ข้อความอยู่กลาง
คำสั่ง <img src="url"> : ใส่รูป
คำสั่ง <font color="#000000" size="10">ข้อความ</font> : กำหนดทั้งขนาดและสีข้อความ
คำสั่ง <img src="url" width="100px" height="100px"> : ใส่รูป แบบ กำหนดขนาด
แหล่งที่มา :https://sites.google.com/site/swaskrmaenkrathok/1-3-kha-sang-phasa-html
                    http://blog9amity.blogspot.com/2013/01/html.html

วันพุธที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2560

ใบงานที่ 10 รูปแบบคำสั่ง HTML +ตัวอย่างคำสั่ง

<HTML>

สำหรับ <HTML> นั้นเป็นคำสั่งหรือแท็กแรกในภาษา HTML ซึ่งเป็นคำสั่งที่แสดงให้รู้ว่า ไฟล์นี้เป็นไฟล์ HTML ซึ่งจะใช้ <HTML> ที่บรรทัดบนสุดและ </HTML> เป็นการปิดคำสั่ง HTML ซึ่งจะไว้ที่บรรทัดสุดท้าย เพื่อแสดงว่าจบไฟล์



<HEAD>
สำหรับแท็ก <HEAD> เป็นส่วนหัวของไฟล์ที่ใช้ใส่แท็กต่างๆ เช่น <TITLE>, <META>, <!DOCTYPE> เป็นต้น ส่วนนี้จะเป็นส่วนที่ถูกเรียกมาก่อนส่วนอื่นๆ และจะไม่แสดงผลออกทาง Browser


<BODY>

สำหรับแท็กนี้เป็นส่วนที่เริ่มต้นส่วนที่เป็นคำสั่งต่างๆ ที่จะแสดงยัง Browser ซึ่งข้อมูลทุกอย่างของเราที่จะนำมาแสดงต้องใส่ไว้ภายใต้คำสั่งนี้เท่านั้น แท็กนี้มีคำสั่งย่อยที่สำคัญ ดังนี้

1. BACKGROUND คือการกำหนดให้ Browser แสดงพื้นหลังด้วยรูปภาพ เช่น <BODY BACKGROUND= “bg.gif”> เป็นต้น

2. BGCOLOR คือการกำหนดให้ Browser แสดงพื้นหลังสีที่กำหนด เช่น <BODY BGCOLOR= “green” > เป็นต้น

3. TEXT คือการกำหนดให้ Browser แสดงอักษรเป็นสีที่กำหนด เช่น <BODY TEXT= “rad”> เป็นต้น



<META>
สำหรับแท็กนี้เป็นแท็กที่มีประโยชน์มากเลยทีเดียวในสมัยนี้ ไม่ว่าจะไว้สำหรับกำหนดภาษาที่จะแสดงผล ใช้เป็นเครื่องมือในการค้นหาเว็บ ของ Search Engine ต่างๆ ใส่ข้อความ คำอธิบายต่างๆ

1. NAME= “GENERATOR” ใช้บอกชื่อของผู้เขียนหรือชื่อโปรแกรมที่ใช้เขียน เช่น <META NAME=“GENERATOR” CONTENT= “ชื่อผู้เขียนหรือชื่อโปรแกรม”>

2. NAME= “DESCRIPTION” ใช้ใส่คำอธิบายของโฮมเพจเรา ซึ่งเป็นแท็กหนึ่งที่ Search Engine ใช้ในการค้นหาเว็บเรา เช่น

<META NAME= “DESCRIPTION” CONTENT= “ใส่คำอธิบาย”>

3. NAME= “KEYWORDS” ใช้ใส่คำสำคัญ หรือคำต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเว็บเรา ซึ่งเป็นแท็กหนึ่งที่ Search Engine ใช้ในการค้นหาเว็บเรา เช่น

<META NAME= “KEYWORDS” CONTENT= “ใส่คำสำคัญ”>



<!- ->

สำหรับแท็กนี้เรียกว่าแท็ก Comment (หมายเหตุ) ใช้ในการทำหมายเหตุในเอกสาร HTML ซึ่งผู้ที่เปิดดูจาก Browser จะไม่สามารถมองเห็นได้ แต่จะสามารถอ่านได้จาก Taxt Edittor เท่านั้น รูปแบบการใช้ คือ <!- ข้อความ ->



<FONT>

สำหรับแท็กนี้ ก็จะเกี่ยวกับการแสดงผลของตัวอักษร เช่น ขนาด, สี, Font ของตัวอักษร เป็นต้น

1. SIZE ใช้กำหนดขนาดของ Font ให้มีขนาดต่างๆกัน โดยจะมีขนาดตั้งแต่ 1-7 ซึ่งขนาด

ที่ 1 จะมีขนาดเล็กที่สุดหรือเท่ากับ 8 pt และ ขนาด 7 จะมีขนาดใหญ่ที่สุดหรือเท่ากับ 36 pt

2. COLOR ใช้กำหนดสีของ Font ให้มีสีสันต่างๆ กัน โดยที่คุณสามารถใส่เป็นรหัสสีหรือชื่อก็ได้ เช่น <FONT COLOR= “#000000” > หรือ <FONT COLOR= “Black” > เป็นต้น

3. FACE ใช้กำหนด Font ที่จะให้ Browser แสดงผลด้วย Font ที่กำหนด เช่น <FONT FACE= “Angsana UPC” > เป็นต้น



<B>

สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดการแสดงผลของตัวอักษรแบบตัวหนา รูปแบบการใช้งานคือ <B> ข้อความ </B>

< I >

สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดการแสดงผลของตัวอักษรแบบตัวเอียง รูปแบบการใช้งานคือ < I > ข้อความ </I>

< U >

สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดการแสดงผลของตัวอักษรแบบตัวขีดเส้นใต้ รูปแบบการใช้งานคือ < U > ข้อความ </U>



< BR >

สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับการขึ้นบรรทัดใหม่ มีรูปแบบการใช้งาน คือ <BR>



<CENTER>

สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดให้ข้อความภายในแท็กนี้ มีการจัดรูปแบบ แบบกึ่งกลาง มีรูปแบบการใช้งาน คือ <CENTER> ข้อความ </CENTER>



< HR>

สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับการขีดเส้น ___________ โดยมีรูปแบบการใช้งานคือ <HR>



< P >

สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับการขึ้นย่อหน้าใหม่ มีรูปแบบการใช้ คือ <P> ข้อความ </P>

1. ALIGN ใช้กำหนดลักษณะการจัดย่อหน้า บนหน้าจอ โดยจะมีค่าที่ใช้ คือ LEFT (วางแบบชิดซ้าย), RIGHT (วางแบบชิดขวา), CENTER (วางแบบกึ่งกลาง) ใช้งานคือ

<P ALIGN= “LEFT”> ข้อความ </P>

<P ALIGN= “RIGHT”> ข้อความ </P>

<P ALIGN= “CENTER”> ข้อความ </P>



<MARQUEE>

สำหรับแท็กนี้เป็นแท็กที่ใช้สำหรับ กำหนดการแสดงผลของตัวอักษรวิ่ง โดยมีรูปแบบการใช้งานคือ <MARQUEE> ข้อความ </MARQUEE> มีคำสั่งย่อย ดังนี้

1. WIDTH แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดความกว้างของพื้นที่ตัวอักษรวิ่ง โดยจะมีการกำหนดค่าเป็นหน่วยของ Pixel หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) มีรูปแบบการใช้งาน คือ

< MARQUEE WIDTH= “200” > หรือ < MARQUEE WIDTH= “20%” > เป็นต้น

2. HEIGHT แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดความสูงพื้นที่ตัวอักษรวิ่ง โดยจะมีการกำหนดค่าเป็นหน่วยของ Pixel หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) มีรูปแบบการใช้งาน คือ

< MARQUEE HEIGHT = “200” > หรือ < MARQUEE HEIGHT = “20%” > เป็นต้น

3. BGCOLOR แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดสีพื้นหลังที่เป็นสีที่กำหนด เช่น

< MARQUEE BGCOLOR = “green”> เป็นต้น

4. HSPACE สำหรับแท็กนี้ ใช้สำหรับกำหนดระยะห่างทางด้านซ้ายและขวาของตัวอักษรวิ่ง มีรูปแบบการใช้งาน คือ < MARQUEE HSPACE= “10”>ข้อความ </MARQUEE>

5. VSPACE สำหรับแท็กนี้ ใช้สำหรับกำหนดระยะห่างทางด้านบนและล่างของตัวอักษรวิ่ง มีรูปแบบการใช้งาน คือ < MARQUEE VSPACE= “10”>ข้อความ </MARQUEE>

6. LOOP ใช้กำหนดจำนวนรอบของตัวอักษรวิ่ง โดยจะมีค่าเป็นเลข ตั้งแต่ 1 ไปจนถึง Infinite หรือว่า Loop แบบไม่รู้จบ

7.BEHAVIOR ใช้กำหนดลักษณะการวิ่งของตัวอักษร โดยสามารถกำหนดได้ 3 แบบ คือ

ALTERNATIVE ตัวอักษรวิ่งจากขวามาซ้ายและซ้ายไปขวา กลับไปกลับมา

SCROLL ตัวอักษรวิ่งจากขวามาซ้าย

SLIDE ตัวอักษรวิ่งจากขวามาซ้ายแล้วหยุดนิ่ง

ตัวอย่าง < MARQUEE BEHAVIOR= “ALTERNATIVE” > ข้อความ </MARQUEE>

< MARQUEE BEHAVIOR= “SCROLL” > ข้อความ </MARQUEE>

< MARQUEE BEHAVIOR= “SLIDE” > ข้อความ </MARQUEE>



<TABLE>
สำหรับแท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้มากที่สุด และสำคัญที่สุดในการสร้างโฮมเพจของเรา สำหรับการสร้างตาราง โดยจะต้องใช้ควบคู่กับแท็ก <TR> และ <TD> เสมอในการสร้างตาราง โดยมีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้

<TABLE> ------------------------------------------------------------> คำสั่งเปิดตาราง

<TR> ------------------------------------------------------------> หมายถึง แถว

<TD> ข้อความ </TD> <TD> ข้อความ </TD> -----------------------> หมายถึง คอลัมภ์

</TR> ------------------------------------------------------------> จบแถว

</TABLE> ------------------------------------------------------------> คำสั่งจบตาราง



จะเห็นว่าคำสั่ง <TR> นั้นคือ คำสั่งแถว และ คำสั่ง <TD> คือคำสั่ง คอลัมภ์ และคำสั่งคอลัมภ์นั้นจะเห็นว่าอยู่ภายใต้คำสั่ง <TR> ซึ่งก็คือ เมื่อใดที่ตารางมีแถว ก็ต้องมีคอลัมภ์อยู่ในแถว และในคอลัมภ์นั่นเองที่เป็นที่ใส่ข้อมูลต่างๆ จากด้านบนจะเห็นว่า คำสั่งนี้จะมี 1 ตาราง 1 แถว 2 คอลัมภ์ ส่วนการกำหนดรายละเอียดนั้น มีดังต่อไปนี้

1. WIDTH แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดความกว้างของตาราง โดยจะมีการกำหนดค่าเป็นหน่วยของ Pixel หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) มีรูปแบบการใช้งาน คือ <TABLE WIDTH= “200” > หรือ<TABLE WIDTH= “20%” > เป็นต้น

2. HEIGHT แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดความสูงของตาราง โดยจะมีการกำหนดค่าเป็นหน่วยของ Pixel หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) มีรูปแบบการใช้งาน คือ <TABLE HEIGHT = “200” > หรือ<TABLE HEIGHT = “20%” > เป็นต้น

3. ALIGN แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดลักษณะการวางตารางบนหน้าจอ โดยจะมีค่าที่ใช้คือ LEFT, RIGHT, CENTER เช่น <TABLE ALIGN = “CENTER” > เป็นต้น

4. BORDER แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดขนาดความหนาของกรอบตาราง โดยจะมีการกำหนดค่าเป็นหน่วยของ Pixel หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) มีรูปแบบการใช้งาน คือ <TABLE BORDER = “0” >(เมื่อไม่ต้องการมีกรอบ), หรือ <TABLE BORDER = “2” > เป็นต้น

5. CELLSPACING แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดระยะห่างระหว่างคอลัมภ์ของตาราง ด้านซ้าย-ขวา โดยจะมีการกำหนดค่าเป็นหน่วยของ Pixel หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) มีรูปแบบการใช้งาน คือ<TABLE CELLSPACING = “0” > (เมื่อไม่ต้องการมีระยะห่าง), หรือ <TABLE CELLSPACING = “2” > เป็นต้น

6. CELLPADDING แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดระยะห่างระหว่างคอลัมภ์ของตาราง ด้านบน-ล่าง โดยจะมีการกำหนดค่าเป็นหน่วยของ Pixel หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) มีรูปแบบการใช้งาน คือ<TABLE CELLPADDING = “0” > (เมื่อไม่ต้องการมีระยะห่าง), หรือ <TABLE CELLPADDING = “2” > เป็นต้น

7. BACKGROUND แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดสีพื้นหลังที่เป็นรูปภาพกับตาราง เช่น < TABLE BACKGROUND= “bg.gif”> เป็นต้น

8. BGCOLOR แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดสีพื้นหลังที่เป็นสีที่กำหนด เช่น < TABLE BGCOLOR = “green”> เป็นต้น

9. BORDERCOLOR แท็กนี้ เป็นแท็กที่ใช้สำหรับกำหนดสีของกรอบตารางให้เป็นสีที่กำหนด เช่น < TABLE BORDERCOLOR = “green”> เป็นต้น


ตัวอย่างคำสั่ง

คำสั่ง <br> ใช้สำหรับขึ้นบรรทัดใหม่คำสั่ง <b>ข้อความ</b> : กำหนดให้ข้อความเป็นตัวหนา
คำสั่ง <center>ข้อความ</center> : กำหนดให้ข้อความอยู่กลาง
คำสั่ง <img src="url"> : ใส่รูป
คำสั่ง <font color="#000000" size="10">ข้อความ</font> : กำหนดทั้งขนาดและสีข้อความ
คำสั่ง <img src="url" width="100px" height="100px"> : ใส่รูป แบบ กำหนดขนาด

แหล่งที่มา :https://sites.google.com/site/swaskrmaenkrathok/1-3-kha-sang-phasa-html
                    http://blog9amity.blogspot.com/2013/01/html.html

ใบงานที่ 9 ความหมายของ HTML



HTML ย่อมาจาก HyperTextMarkupLanguage ซึ่งเป็นภาษาที่ไม่ยากอย่างที่เราเข้าใจกันเพียงแต่มีรูปแบบและกฎเกณฑ์บางอย่าง ที่เราต้องปฏิบัติตามเท่านั้น และเครื่องมือหรือโปรแกรมที่จะใช้เขียนภาษา HTML เรียกว่า "HTML Editor" ซึ่งปัจจุบันมีมากมายหลายยี่ห้อหรืออาจใช้โปรแกรม Text Editor ทั่ว ๆ ไปก็ได้แต่ต้อง Save ให้อยู่ในรูปของ ASCII หรือText เท่านั้นเมื่อเขียนเสร็จแล้วก็นำข้อมูลนั้นไปใส่ในส่วนกลางซึ่งก็คือใส่ไว้ใน Server ของ ISP ที่เราเป็นสมาชิกอยู่นั่นเองข้อมูลที่เรานำไปใส่นี้เรียกว่า Web Page บางครั้งเรียกว่า Home Page